รูปแบบการปักในการทำพื้นที่ขนาดใหญ่ ทาทามิ หรือ ตาตามิ(Tatami) (ต่อไปเพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน ผมขอเรียกว่า"ทาทามิ"นะครับ)จึงเป็นรูปแบบการปักที่ลงตัว นอกจากนั้นในโปรแกรม Wilcom ยังได้ใส่ลูกเล่นเข้าไปในการปักแบบทาทามิเข้าไปอีกมากมาย จึงทำให้การปักแบบทำพื้นที่ของโปรแกรมมีความหลากหลายสวยงามมากยิ่งขึ้น
1.สำหรับรูปแบบการปักแบบทาทามิ(Tatami) นั้นจะเป็นการปักแบบโรยพื้นที่จึงทำให้มีการลงเข็มที่มากกว่าแบบซาตินหลายเท่าตัว เมื่อต้องการใช้งานรูปแบบการปักแบบทาทามิ ให้กดไปที่ไอคอน Tatami/Values เพื่อใช้งาน

2.แต่ถ้าเราคลิกขวาที่ไอคอน Tatami/Values แล้วที่ Modeless Dialog ที่ด้านขวามก็จะขึ้นแท็ป Fill ซึ่งเป็นการตั้งค่าต่าง ๆ ของรูปแบบการปักแบบซาตินในทันที โดยมีส่วนของการตั้งค่าดังนี้...

3.สำหรับการปรับแต่งในส่วนแรกคือ Stitch Values จะมีให้ปรับแต่งด้วยกัน 3 ส่วนคือ
-Spacing ส่วนนี้จะเป็นการตั้งค่าระยะความห่างของทาทามิ ถ้าใส่ค่าน้อยลงจะทำให้ทาทามิดูหนาแน่นขึ้นเนื่องจะระยะแถวจะถี่ขึ้น แต่ถ้าใส่ค่ามากขึ้นจะทำให้ทาทามิดูบางลง
-Length ส่วนนี้จะเป็นการตั้งค่าระยะฝีเข็มของทาทามิ ถ้าตั้งค่าน้อยลงจะทำให้มีการก้าวฝีเข็มสั้นขึ้น แต่ถ้าใส่ค้ามากขึ้นก็จะทำให้มีกาก้าวฝีเข็มที่ยาวขึ้น
-Min Length ส่วนนี้จะเป็นการตั้งค่าระยะฝีเข็มที่สั้นที่สุดของทาทามิ จะเป็นฝีเข็มที่อยู่ในขอบของทาทามิ

4.ตัวอย่างเปรียบเทียบการปรับแต่งค่า Min Length ของ Stitch Values จะเห็นว่าพื้นทาทามิจะมีสันคล้ายขอบเกิดขึ้น

5.ในส่วนต่อไปคือ Offset Fraction ปรกติโปรแกรมจะใช้งานในส่วนนี้ ค่าปรกติคือ A=0.25 B=0.25

7.เมื่อมีการเปลี่ยนค่าของ A และ B แล้วเราก็จะได้รูปแบบต่าง ๆ มากมาย โดยค่าที่ใส่จะอยู่ในระหว่าง 0.00-0.99 ก็จะเป็น 100x100 = 10000 รูปแบบเลยทีเดียว
ตัวอย่าง 1. A=0.25 B=0.25 2. A=0.30 B=0.30 3. A=0.30 B=0.60
ตัวอย่าง 4. A=0.50 B=0.25 5. A=0.40 B=0.00 6. A=0.00 B=0.00

8.ลำดับต่อมาคือ Partition Line ถ้าเลือกใช้งานในส่วนนี้(จะใช้ Offset Fraction หรือ Partition Line อย่างใดอย่างหนึ่ง) ก็จะเป็นการใส่ค่าต่าง ๆ ลงในช่อง โดยมีการกำหนดองศาของ Partition Line ตามความต้องการได้อีกด้วย

9.สำหรับตัวเลขของ Partition Line จะเป็นค่าจากการวาดตารางขนาด 8x8 ช่อง โดยตัวเลขด้านขวา 1-8 จะเป็นลำดับ ส่วนตัวเลขด้านบน 0-7 จะเป็นค่าตัวเลขที่ได้

10.ตัวอย่างเช่น 01234321 ก็จะได้เป็น


11.ตัวอย่างเช่น 20143 ก็จะได้เป็น


12.ตัวอย่างเช่น 00112233 ก็จะได้เป็น


13.และตัวอย่าง 000222 ก็จะได้เป็น


14.ในส่วนต่อมาคือรูปแบบการปักจากขอบของทาทามิ ซึ่งมีอยู่ 3 รูปแบบคือ
-Standard Backstitch คือรูปแบบมาตรฐานของโปรแกรม Wilcom ผลที่ได้จะเป็นแบบตามรูป

-Borderline Backstitch คือรูปแบบคล้าย ๆ แบบแรก

-Diagonal Backstitch คือรูปแบบเหมือนกับการปักซิกแซก

15.และในส่วนสุดท้ายคือ Random จะเป็นการทำให้ระยะฝีเข็มของ Length ถูกสุ่มให้สั้นบ้างยาวบ้างตามความมากน้อยของเปอร์เซ็นต์

สำหรับสมาชิกท่านใดมีปัญหาสงสัยการใช้งานหรือมีข้อแนะนำเพิ่มเติม ก็เชิญโพสท์แนะนำ-สอบถามได้ต่อจากกระทู้นี้ได้ครับ
ที่มา.thaiemb.com
1.สำหรับรูปแบบการปักแบบทาทามิ(Tatami) นั้นจะเป็นการปักแบบโรยพื้นที่จึงทำให้มีการลงเข็มที่มากกว่าแบบซาตินหลายเท่าตัว เมื่อต้องการใช้งานรูปแบบการปักแบบทาทามิ ให้กดไปที่ไอคอน Tatami/Values เพื่อใช้งาน
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 737x455 พิกเซล. |

2.แต่ถ้าเราคลิกขวาที่ไอคอน Tatami/Values แล้วที่ Modeless Dialog ที่ด้านขวามก็จะขึ้นแท็ป Fill ซึ่งเป็นการตั้งค่าต่าง ๆ ของรูปแบบการปักแบบซาตินในทันที โดยมีส่วนของการตั้งค่าดังนี้...

3.สำหรับการปรับแต่งในส่วนแรกคือ Stitch Values จะมีให้ปรับแต่งด้วยกัน 3 ส่วนคือ
-Spacing ส่วนนี้จะเป็นการตั้งค่าระยะความห่างของทาทามิ ถ้าใส่ค่าน้อยลงจะทำให้ทาทามิดูหนาแน่นขึ้นเนื่องจะระยะแถวจะถี่ขึ้น แต่ถ้าใส่ค่ามากขึ้นจะทำให้ทาทามิดูบางลง
-Length ส่วนนี้จะเป็นการตั้งค่าระยะฝีเข็มของทาทามิ ถ้าตั้งค่าน้อยลงจะทำให้มีการก้าวฝีเข็มสั้นขึ้น แต่ถ้าใส่ค้ามากขึ้นก็จะทำให้มีกาก้าวฝีเข็มที่ยาวขึ้น
-Min Length ส่วนนี้จะเป็นการตั้งค่าระยะฝีเข็มที่สั้นที่สุดของทาทามิ จะเป็นฝีเข็มที่อยู่ในขอบของทาทามิ
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 846x551 พิกเซล. |

4.ตัวอย่างเปรียบเทียบการปรับแต่งค่า Min Length ของ Stitch Values จะเห็นว่าพื้นทาทามิจะมีสันคล้ายขอบเกิดขึ้น
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 824x408 พิกเซล. |

5.ในส่วนต่อไปคือ Offset Fraction ปรกติโปรแกรมจะใช้งานในส่วนนี้ ค่าปรกติคือ A=0.25 B=0.25
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 735x400 พิกเซล. |

7.เมื่อมีการเปลี่ยนค่าของ A และ B แล้วเราก็จะได้รูปแบบต่าง ๆ มากมาย โดยค่าที่ใส่จะอยู่ในระหว่าง 0.00-0.99 ก็จะเป็น 100x100 = 10000 รูปแบบเลยทีเดียว
ตัวอย่าง 1. A=0.25 B=0.25 2. A=0.30 B=0.30 3. A=0.30 B=0.60
ตัวอย่าง 4. A=0.50 B=0.25 5. A=0.40 B=0.00 6. A=0.00 B=0.00
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 891x515 พิกเซล. |

8.ลำดับต่อมาคือ Partition Line ถ้าเลือกใช้งานในส่วนนี้(จะใช้ Offset Fraction หรือ Partition Line อย่างใดอย่างหนึ่ง) ก็จะเป็นการใส่ค่าต่าง ๆ ลงในช่อง โดยมีการกำหนดองศาของ Partition Line ตามความต้องการได้อีกด้วย
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 743x410 พิกเซล. |

9.สำหรับตัวเลขของ Partition Line จะเป็นค่าจากการวาดตารางขนาด 8x8 ช่อง โดยตัวเลขด้านขวา 1-8 จะเป็นลำดับ ส่วนตัวเลขด้านบน 0-7 จะเป็นค่าตัวเลขที่ได้
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 769x476 พิกเซล. |

10.ตัวอย่างเช่น 01234321 ก็จะได้เป็น
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 769x476 พิกเซล. |

![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 825x542 พิกเซล. |

11.ตัวอย่างเช่น 20143 ก็จะได้เป็น
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 769x476 พิกเซล. |

![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 890x584 พิกเซล. |

12.ตัวอย่างเช่น 00112233 ก็จะได้เป็น
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 769x476 พิกเซล. |

![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 889x584 พิกเซล. |

13.และตัวอย่าง 000222 ก็จะได้เป็น
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 769x476 พิกเซล. |

![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 890x581 พิกเซล. |

14.ในส่วนต่อมาคือรูปแบบการปักจากขอบของทาทามิ ซึ่งมีอยู่ 3 รูปแบบคือ
-Standard Backstitch คือรูปแบบมาตรฐานของโปรแกรม Wilcom ผลที่ได้จะเป็นแบบตามรูป
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 642x635 พิกเซล. |

-Borderline Backstitch คือรูปแบบคล้าย ๆ แบบแรก

-Diagonal Backstitch คือรูปแบบเหมือนกับการปักซิกแซก

15.และในส่วนสุดท้ายคือ Random จะเป็นการทำให้ระยะฝีเข็มของ Length ถูกสุ่มให้สั้นบ้างยาวบ้างตามความมากน้อยของเปอร์เซ็นต์
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 870x513 พิกเซล. |

สำหรับสมาชิกท่านใดมีปัญหาสงสัยการใช้งานหรือมีข้อแนะนำเพิ่มเติม ก็เชิญโพสท์แนะนำ-สอบถามได้ต่อจากกระทู้นี้ได้ครับ
ที่มา.thaiemb.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น