รับทำเว็บไซต์ เชียงใหม่ เราพร้อมให้บริการออกแบบ พัฒนา วิเคราะห์ จัดทำออกแบบเว็บไซต์ในแนวทางของคุณที่คุณต้องการมากที่สุด ตรงต่อการใช้งานมากที่สุด และทันสมัยมากที่สุด พร้อมกับความสวยงาม เราทีมงานรับทำเว็บไซต์จึงมีความมุ่งมั่งตั้งใจพัฒนางานให้ก้าวสุดความทันสมัย โดยคุณภาพงานสร้างสรรค์ รับทำเว็บไซต์ เชียงใหม่
ร้านปักเสื้อ เชียงใหม่, รับปักเสื้อ เชียงใหม่, ร้านปักเสื้อ แม่ริม, รับปักเสื้อ แม่ริม โทร. 093-2451009, 061-9028690
วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
วันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
วันอังคารที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
วันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
วันศุกร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2559
วันอังคารที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2559
วันอาทิตย์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2559
วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2559
วันศุกร์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2559
วันจันทร์ที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2559
ร้านปักเสื้อ เชียงใหม่ โทร.093-2451009
ร้านปักเสื้อ เชียงใหม่ ร้านปักหมวก เชียงใหม่ ร้านปักย่าม เชียงใหม่ ร้านปักสัญลักษณ์ เชียงใหม่ ร้านปักผ้าขนหนู เชียงใหม่ ร้านปักโลโก้ เชียงใหม่ ร้านปักตาลปัตร เชียงใหม่ ราคาถูก ได้งานคุณภาพ ทางร้านใช้ด้ายยี่ห้อดี รับประกันคุณภาพทุกชิ้นงาน โทร.093-2451009
http://webdesignchiangmai.com/logo-blog.html
http://webdesignchiangmai.com/logo-blog.html
วันอังคารที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2559
วันศุกร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
การตั้งค่า Connectors
ในชิ้นงาน(Object) แต่ละชิ้นงาน เมื่อมีชิ้นงานหลายชิ้น ชิ้นงานแต่ละชิ้นก็จะมีการโยงเชื่อมกัน(Connectors) เกิดขึ้น โปรแกรม Wilcom จะมีคำสั่ง ผูกไหมเข้า(Tie In) ผูกไหมออก(Tie Off) ตัดไหม(Trim) และ กระโดด(Jump) เกิดขึ้นอยู่เสมอ ซึ่งโปรแกรม Wilcom ได้เปิดโอกาสให้เราได้ตั้งค่าต่าง ๆ ในการเชื่อมชิ้นงานให้เหมาะสมกับงานของเราตามต้องการ เนื่องจากคำสั่งเหล่านี้จะสำคัญมากในการที่จะนำลายปักไปใช้ปักจริง ถ้าตั้งค่าให้เหมาะสมแล้ว จะทำให้งานของเรามีความรวดเร็วขึ้นและตรงวัตถุประสงค์ของเราตามต้องการ
1.ในการปิดและเปิดหน้าต่างการตั้งค่าต่าง ๆ ที่อยู่ด้านขวาของจอ หรือ ที่เรียกว่า Modeless Dialog สามารถทำได้โดยการกดที่ไอคอน Properties Window เพื่อเป็นการเรียกหน้าต่างการตั้งค่าขึ้นมาก (ในกรณีที่ถูกปิดไว้)

2.จากนั้นให้คลิกที่แท็ป Connectors เพื่อเข้าสู้การตั้งค่าการเชื่อมต่อ(Connectors) ในรูปแบบต่าง ๆ

3.ในการตั้งค่าจะมีการตั้งค่าใหญ่ 2 ส่วนคือ After Object และ Inside Object ซึ่งการตั้งค่าทั้งสองส่วนนี้จะมีการตั้งค่าคนละส่วนและไม่เหมือนกัน

การเชื่อมต่อระหว่างชิ้นงาน(After Object)
การเชื่อมต่อแบบนี้จะเป็นการเชื่อมต่อระหว่างชิ้นงานแรกและชิ้นงานต่อไปตามลำดับการสร้าง
4.ในส่วนแรกจะเป็นการตั้งค่ารูปแบบการเชื่อมต่อระหว่างชิ้นงาน หรือ Type จะมีตัวเลือก 2 แบบคือ...
-Jump จะเป็นการตั้งค่าระยะการกระโดดไปปักชิ้นงานอื่น โดยไม่ลงฝีเข็มและไม่ตัดไหม ถ้าระยะมากกว่าค่าที่ตั้งไว้ โดยโปรแกรมกำหนดให้กระโดดได้ไม่เกิน 7 มิลลิเมตร
-Run จะเป็นการตั้งค่าระยะการเดินรัน(Run) ไปปักชิ้นงานอื่น ถ้าระยะมากกว่าค่าที่ตั้งไว้

-ภาพตัวอย่างการเชื่อมต่อแบบ Jump และ แบบ Run

5.ในส่วนต่อไปจะเป็นการตั้งค่าการตัดไหม หรือ Trim ซึ่งจะทำงานก็ต่อเมื่อ ในส่วนแรกคือ Type เลือกเป็นแบบกระโดด หรือ Jump จะมีตัวเลือก 3 แบบคือ...
-Off จะเป็นการตั้งค่าไม่ให้มีการตัดไหมเลย (แต่ถ้าเกิน 13 มิลลิเมตร โปรแกรมก็ตัดไหมให้อัตโนมัติอยู่ดี)
-Always จะเป็นการตั้งค่าให้มีการตัดไหมเสมอเมื่อจบชิ้นงาน
-If Next Connector > จะเป็นการตั้งค่าให้มีการตัดไหม ถ้าจุดเริ่มชิ้นงานต่อไปมีระยะมากกว่าค่าที่ตั้งในช่อง

-ภาพตัวอย่างการตัดไหม จะแสดงเป็นสัญลักษณ์เป็นรูปสามเหลี่ยม ส่วนจุดเริ่มต้นของชิ้นงานจะถูกแสดงด้วยวงกลมเล็ก ๆ

6.ในส่วนต่อไปจะเป็นการตั้งค่าการผูกไหมเข้า(Tie In) และ การผูกไหมออก(Tie Off) เราจะมาดูส่วนแรกก่อนคือการผูกไหมเข้า หรือ Tie In กันเสียก่อน โดยคำสั่งผูกไหมเข้าจะมีการตั้งค่าหลายส่วนด้วยกันคือ...
-Off จะเป็นการตั้งค่าไม่ให้มีการผูกไหมเข้า เมื่อเริ่มต้นชิ้นงาน
-Always Tie In จะเป็นการตั้งค่าให้มีการการผูกไหมเข้าเสมอ เมื่อเริ่มต้นปักชิ้นงาน
-Tie In if จะเป็นการตั้งค่าให้มีการผูกไหมเข้า ตามการกำหนดเงื่อนไขดังนี้
-After Trim / CC จะเป็นตัวเลือกให้มีการผูกไหมเข้า ถ้ามีการตัดไหม หรือ มีการเปลี่ยนสีไหมปัก
-Previous Connector > จะเป็นการเลือกให้มีการผูกไหม ถ้าชิ้นงานก่อนหน้ามีค่ามากกว่าค่าในช่องที่ตั้งไว้
และในส่วนด้านล่างจะมีการตั้งค่าการผูกไหมเข้า 2 อย่างดังนี้
-Length จะเป็นการตั้งค่าให้ฝีเข็มผูกไหมมีความยาวตามค่าที่ตั้งไว้
-Number จะเป็นการตั้งค่าให้ลงฝีเข็มตามค่าที่ตั้งไว้

7.ในส่วนต่อไปจะเป็นการผูกไหมออกออก หรือ Tie Off จะมีการตั้งค่าดังนี้
-Off จะเป็นการตั้งค่าไม่ให้มีการผูกไหมออก เมื่อจบชิ้นงาน
-Always Tie Off จะเป็นการตั้งค่าให้มีการผูกไหมออกเสมอ เมื่อจบชิ้นงาน
-Tie Off if จะเป็นการตั้งค่าให้มีการผูกไหมออก ตามเงื่อนไขดังนี้
-Before Trim / CC จะเป็นตัวเลือกให้มีการผูกไหมออก ถ้าต่อไปมีการตัดไหม หรือ มีการเปลี่ยนสี
-Always Tie Off Last จะเป็นตัวเลือกให้มีการผูกไหมออก ถ้าชิ้นงานนั้นเป็นชิ้นงานสุดท้ายของลายปัก
-Next Connector > จะเป็นการตั้งค่าการผูกไหมออก ถ้าชิ้นงานต่อไปมีระยะห่างมากกว่าค่าในช่องที่ตั้งไว้
และในส่วนด้านล่างจะมีการตั้งค่าการผูกไหมออกดังนี้
-Method คือรูปแบบของการผูกไหม
-Length จะเป็นการตั้งค่าให้ฝีเข็มผูกไหมมีความยาวตามค่าที่ตั้งไว้
-Number จะเป็นการตั้งค่าให้ลงฝีเข็มตามค่าที่ตั้งไว้

-ภาพตัวอย่างการผูกไหมเข้า และ การผูกไหมออก

การเชื่อมต่อภายในชิ้นงาน(Inside Object)
การเชื่อมต่อแบบภายในชิ้นงาน จะเป็นการเชื่อมต่อของชิ้นงานที่ถูก กรุ๊ป(Group) เอาไว้ เช่น ตัวหนังสือเป็นต้น ถึงแม้จะเป็นหลาย ๆ ตัวอักษร แต่โปรแกรมจะมองชิ้นงานที่ถูกกรุ๊ปไว้เป็นชิ้นงานเดียว ฉนั้นการเชื่อมต่อจึงถือว่าเป็นการเชื่อมต่อภายในชิ้นงาน
8.การตั้งค่าการเชื่อมต่อภายในชิ้นงาน(Inside Object) โดยรวมจะเหมือนกันกับการตั้งค่าการเชื่อมต่อระหว่างชิ้นงาน ทุกประการ แต่ทว่าค่าที่ตั้งเหล่านี้ถึงแม้จะเหมือนกัน แต่ก็เป็นคนละค่าและคนละส่วนกับการเชื่อมต่อระหว่างชิ้นงาน โดยมากจะใช้ตั้งค่ากับลายปักที่เป็นแบบตัวอักษร ถ้ามีการตั้งค่าไม่เหมาะสม จะทำให้ชิ้นงาน หรือ Object มีการตัดไหมภายในชิ้นงานที่มากมายเกิดขึ้น

-หลังจากการตั้งค่าระยะห่างของชิ้นงานภายในให้เหมาะสม โปรแกรมจะสั่งให้กระโดดแทนการตัดไหม

ทิ้งท้าย การตั้งค่าการเชื่อมต่อต่าง ๆ เหล่านี้ จะทำให้เราได้งานที่ตรงตามวัตถุประสงค์ของเรามากขึ้นเช่น สั่งให้กระโดด(Jump) เพื่อเชื่อมชิ้นงานทุกชิ้น หรือ สั่งให้ตัดไหม(Trim) เมื่อจบชิ้นงานทุกชิ้น ตามต้องการได้โดยการตั้งค่าต่าง ๆ เหล่านี้
สำหรับสมาชิกท่านใดมีปัญหาสงสัยการใช้งานประการใด หรือ มีข้อแนะนำเพิ่มเติม ก็เชิญโพสท์สอบถาม - แนะนำได้ต่อจากกระทู้นี้ได้ครับ
ที่มา. thaiemb.com
1.ในการปิดและเปิดหน้าต่างการตั้งค่าต่าง ๆ ที่อยู่ด้านขวาของจอ หรือ ที่เรียกว่า Modeless Dialog สามารถทำได้โดยการกดที่ไอคอน Properties Window เพื่อเป็นการเรียกหน้าต่างการตั้งค่าขึ้นมาก (ในกรณีที่ถูกปิดไว้)
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 766x681 พิกเซล. |

2.จากนั้นให้คลิกที่แท็ป Connectors เพื่อเข้าสู้การตั้งค่าการเชื่อมต่อ(Connectors) ในรูปแบบต่าง ๆ

3.ในการตั้งค่าจะมีการตั้งค่าใหญ่ 2 ส่วนคือ After Object และ Inside Object ซึ่งการตั้งค่าทั้งสองส่วนนี้จะมีการตั้งค่าคนละส่วนและไม่เหมือนกัน


การเชื่อมต่อระหว่างชิ้นงาน(After Object)
การเชื่อมต่อแบบนี้จะเป็นการเชื่อมต่อระหว่างชิ้นงานแรกและชิ้นงานต่อไปตามลำดับการสร้าง
4.ในส่วนแรกจะเป็นการตั้งค่ารูปแบบการเชื่อมต่อระหว่างชิ้นงาน หรือ Type จะมีตัวเลือก 2 แบบคือ...
-Jump จะเป็นการตั้งค่าระยะการกระโดดไปปักชิ้นงานอื่น โดยไม่ลงฝีเข็มและไม่ตัดไหม ถ้าระยะมากกว่าค่าที่ตั้งไว้ โดยโปรแกรมกำหนดให้กระโดดได้ไม่เกิน 7 มิลลิเมตร
-Run จะเป็นการตั้งค่าระยะการเดินรัน(Run) ไปปักชิ้นงานอื่น ถ้าระยะมากกว่าค่าที่ตั้งไว้

-ภาพตัวอย่างการเชื่อมต่อแบบ Jump และ แบบ Run
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 774x665 พิกเซล. |

5.ในส่วนต่อไปจะเป็นการตั้งค่าการตัดไหม หรือ Trim ซึ่งจะทำงานก็ต่อเมื่อ ในส่วนแรกคือ Type เลือกเป็นแบบกระโดด หรือ Jump จะมีตัวเลือก 3 แบบคือ...
-Off จะเป็นการตั้งค่าไม่ให้มีการตัดไหมเลย (แต่ถ้าเกิน 13 มิลลิเมตร โปรแกรมก็ตัดไหมให้อัตโนมัติอยู่ดี)
-Always จะเป็นการตั้งค่าให้มีการตัดไหมเสมอเมื่อจบชิ้นงาน
-If Next Connector > จะเป็นการตั้งค่าให้มีการตัดไหม ถ้าจุดเริ่มชิ้นงานต่อไปมีระยะมากกว่าค่าที่ตั้งในช่อง

-ภาพตัวอย่างการตัดไหม จะแสดงเป็นสัญลักษณ์เป็นรูปสามเหลี่ยม ส่วนจุดเริ่มต้นของชิ้นงานจะถูกแสดงด้วยวงกลมเล็ก ๆ
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 782x593 พิกเซล. |

6.ในส่วนต่อไปจะเป็นการตั้งค่าการผูกไหมเข้า(Tie In) และ การผูกไหมออก(Tie Off) เราจะมาดูส่วนแรกก่อนคือการผูกไหมเข้า หรือ Tie In กันเสียก่อน โดยคำสั่งผูกไหมเข้าจะมีการตั้งค่าหลายส่วนด้วยกันคือ...
-Off จะเป็นการตั้งค่าไม่ให้มีการผูกไหมเข้า เมื่อเริ่มต้นชิ้นงาน
-Always Tie In จะเป็นการตั้งค่าให้มีการการผูกไหมเข้าเสมอ เมื่อเริ่มต้นปักชิ้นงาน
-Tie In if จะเป็นการตั้งค่าให้มีการผูกไหมเข้า ตามการกำหนดเงื่อนไขดังนี้
-After Trim / CC จะเป็นตัวเลือกให้มีการผูกไหมเข้า ถ้ามีการตัดไหม หรือ มีการเปลี่ยนสีไหมปัก
-Previous Connector > จะเป็นการเลือกให้มีการผูกไหม ถ้าชิ้นงานก่อนหน้ามีค่ามากกว่าค่าในช่องที่ตั้งไว้
และในส่วนด้านล่างจะมีการตั้งค่าการผูกไหมเข้า 2 อย่างดังนี้
-Length จะเป็นการตั้งค่าให้ฝีเข็มผูกไหมมีความยาวตามค่าที่ตั้งไว้
-Number จะเป็นการตั้งค่าให้ลงฝีเข็มตามค่าที่ตั้งไว้

7.ในส่วนต่อไปจะเป็นการผูกไหมออกออก หรือ Tie Off จะมีการตั้งค่าดังนี้
-Off จะเป็นการตั้งค่าไม่ให้มีการผูกไหมออก เมื่อจบชิ้นงาน
-Always Tie Off จะเป็นการตั้งค่าให้มีการผูกไหมออกเสมอ เมื่อจบชิ้นงาน
-Tie Off if จะเป็นการตั้งค่าให้มีการผูกไหมออก ตามเงื่อนไขดังนี้
-Before Trim / CC จะเป็นตัวเลือกให้มีการผูกไหมออก ถ้าต่อไปมีการตัดไหม หรือ มีการเปลี่ยนสี
-Always Tie Off Last จะเป็นตัวเลือกให้มีการผูกไหมออก ถ้าชิ้นงานนั้นเป็นชิ้นงานสุดท้ายของลายปัก
-Next Connector > จะเป็นการตั้งค่าการผูกไหมออก ถ้าชิ้นงานต่อไปมีระยะห่างมากกว่าค่าในช่องที่ตั้งไว้
และในส่วนด้านล่างจะมีการตั้งค่าการผูกไหมออกดังนี้
-Method คือรูปแบบของการผูกไหม
-Length จะเป็นการตั้งค่าให้ฝีเข็มผูกไหมมีความยาวตามค่าที่ตั้งไว้
-Number จะเป็นการตั้งค่าให้ลงฝีเข็มตามค่าที่ตั้งไว้

-ภาพตัวอย่างการผูกไหมเข้า และ การผูกไหมออก
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 665x532 พิกเซล. |

การเชื่อมต่อภายในชิ้นงาน(Inside Object)
การเชื่อมต่อแบบภายในชิ้นงาน จะเป็นการเชื่อมต่อของชิ้นงานที่ถูก กรุ๊ป(Group) เอาไว้ เช่น ตัวหนังสือเป็นต้น ถึงแม้จะเป็นหลาย ๆ ตัวอักษร แต่โปรแกรมจะมองชิ้นงานที่ถูกกรุ๊ปไว้เป็นชิ้นงานเดียว ฉนั้นการเชื่อมต่อจึงถือว่าเป็นการเชื่อมต่อภายในชิ้นงาน
8.การตั้งค่าการเชื่อมต่อภายในชิ้นงาน(Inside Object) โดยรวมจะเหมือนกันกับการตั้งค่าการเชื่อมต่อระหว่างชิ้นงาน ทุกประการ แต่ทว่าค่าที่ตั้งเหล่านี้ถึงแม้จะเหมือนกัน แต่ก็เป็นคนละค่าและคนละส่วนกับการเชื่อมต่อระหว่างชิ้นงาน โดยมากจะใช้ตั้งค่ากับลายปักที่เป็นแบบตัวอักษร ถ้ามีการตั้งค่าไม่เหมาะสม จะทำให้ชิ้นงาน หรือ Object มีการตัดไหมภายในชิ้นงานที่มากมายเกิดขึ้น
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 985x625 พิกเซล. |

-หลังจากการตั้งค่าระยะห่างของชิ้นงานภายในให้เหมาะสม โปรแกรมจะสั่งให้กระโดดแทนการตัดไหม
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 1002x639 พิกเซล. |

ทิ้งท้าย การตั้งค่าการเชื่อมต่อต่าง ๆ เหล่านี้ จะทำให้เราได้งานที่ตรงตามวัตถุประสงค์ของเรามากขึ้นเช่น สั่งให้กระโดด(Jump) เพื่อเชื่อมชิ้นงานทุกชิ้น หรือ สั่งให้ตัดไหม(Trim) เมื่อจบชิ้นงานทุกชิ้น ตามต้องการได้โดยการตั้งค่าต่าง ๆ เหล่านี้
สำหรับสมาชิกท่านใดมีปัญหาสงสัยการใช้งานประการใด หรือ มีข้อแนะนำเพิ่มเติม ก็เชิญโพสท์สอบถาม - แนะนำได้ต่อจากกระทู้นี้ได้ครับ
ที่มา. thaiemb.com
วันอาทิตย์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วันเสาร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
การล้อมกรอบชิ้นงานด้วย Insert Offset Object
หลังจากที่เราได้สร้างชิ้นงานขึ้นมาเรียบร้อยแล้ว แต่ต้องการเดินตัดเส้น อาจจะเดินด้วยเส้น รัน(Run) หรือ อินพุตซี(Input C) และเพื่อความรวดเร็วโปรแกรม Wilcom ได้มีคำสั่ง Insert Offset Object มาให้ใช้งาน โดยในเวอร์ชั่น Wilcom 2006 นี้ ทาง Wilcom ได้เพิ่มไอคอนขึ้นมาให้ใช้งานในแถบเครื่องมือเลย ซึ่งไม่เหมือนเวอร์ชั่นรุ่นก่อนที่เรียกคำสั่งนี้จากทางเมนูบาร์แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น
1.ตัวอย่างชิ้นงานที่จะใช้ในการล้อมกรอบชิ้นงานอัตโนมัติ จะมีทั้งแบบชิ้นงานธรรมดา และ ชิ้นงานที่เจาะรูเอาไว้

2.จากนั้นให้ทำการเลือกชิ้นงานที่เราต้องการให้โปรแกรมล้อมกรอบอัตโนมัติ ให้แอ็คทีฟ เครื่องมือ Insert Offset Object ก็จะพร้อมใช้งานในทันที

4.เมื่อเราคลิกที่ไอคอน Insert Offset Object แล้วโปรแกรมก็จะขึ้นหน้าต่าง Offset Object ซึ่งมีการตั้งค่ามากมายที่เพิ่มขึ้นจากเวอร์ชั่นก่อน ๆ มากมาย

5.สำหรับการตั้งค่าในส่วนแรกคือ Fixed Offset จะเป็นการตั้งค่าการล้อมกรอบแบบตายตัว ถ้าเป็น 0 จะติดกับขอบเดิมของชิ้นงาน ถ้าค่ามากกว่า 0 ก็จะร่นออกไปนอกชิ้นงานตามระยะที่ตั้งไว้ แต่ถ้าค่าน้อยกว่า 0 หรือ ติดลบก็จะร่นเข้ามาในขอบของชิ้นงาน

6.ถัดไปจะเป็นการตั้งค่า Offset Cout จะเป็นการตั้งค่าจำนวนรอบของเส้นกรอบ โดยเส้นกรอบถัดไปจะมีระยะเท่ากันทุกกรอบตามการตั้งค่า Fixed Offset ในข้อ 5.

7.ในส่วนต่อไปจะเป็นการเลือกรูปแบบมุมของกรอบ หรือ Corner จะมี 2 แบบคือ ด้านบนเป็น rounded หรือมุมโค้ง ส่วนด้านล่างคือ squared หรือ มุมเหลี่ยม

8.ถ้าเป็นการเลือกแบบ squared จะมีการตั้งค่าเพิ่มเติมในการตัดมุมที่แหลมเกินไป แต่เนื่องจากผู้เขียนลองสารพัด ก็ไม่เห็นมันตัดมุมกรอบที่มันแหลมเสียที จึงขอผ่านตัวนี้ไปนะครับ

9.ต่อไปเป็นการเลือการล้อมกรอบแบบกำหนดความห่างเองคือ Use Offset List เมื่อเลือกใช้งานตัวนี้แล้วให้กดที่ปุ่ม Offset List ที่ด้านหลัง ก็จะเป็นการตั้งค่าระยะเส้นกรอบแต่ละเส้นว่าให้ห่างจากกรอบของชิ้นงานแต่ละตัวห่างกันเท่าไหร่ตามการกำหนดของเราได้ สามารถกำหนดระยะความห่างได้ 8 กรอบตามต้องการ

10.ในส่วนต่อไปจะเป็นการเลือกรูปแบบเส้นกรอบ คือ Object Type ซึ่งมีรูปแบบให้เลือก 9 อย่างคือ Run, Triple Run, Motif Run, Input C ,Complex Fill, Fusion Fill Backstitch, Stemstitch, และ vector

11.ในส่วนของการตั้งค่าต่อไปคือ approximation หรือ ความแม่นยำ ในส่วนของลายที่มีรูปร่างซับซ้อน อาจจะทำให้การล้อมกรอบไม่สวยงามเกิดขึ้นได้ สำหรับค่านี้ค่ายิ่งน้อยก็จะทำให้ความสมบูรณ์ในการล้อมกรอบดีขึ้นเท่านั้น

12.ในส่วนต่อไปคือการเลือกเส้นกรอบแบบเกลียวสาหร่าย หรือ Spiral ในกรณีที่มีกรอบหลาย ๆ ชั้น เมื่อกาเครื่องหมายที่ Use Spiral จะทำให้การเดินเส้นกรอบกลายเป็นแบบเกลียวขึ้นมาทันที

13.และท้ายสุด จะเป็นการลบชิ้นงานดั้งเดิมทิ้งเมื่อสร้างกรอบ เมื่อเรากาเครื่องหมายถูกที่ช่อง replace original ก็จะทำให้ชิ้นงานเดิมถูกลบทิ้งในทันที

14.สำหรับชิ้นงานที่ถูกเจาะรู ระบบก็จะเดินกรอบให้ทั้งด้านนอกและด้านในชิ้นงานให้อัตโนมัติ

15.และสำหรับตัวอักษร ก็จะเป็นการเดินกรอบให้เหมือนกัน ข้อสังเกตุคือ ตัวอักษรระบบจะเดินกรอบให้ทุกส่วนแม้แต่รอยต่อ ถ้าต้องการความสวยงามจะต้องใช้เครื่องมือขาประจำอย่าง Reshape Object มาช่วยลบหรือขยับส่วนที่เกินออกให้สวยงามภายหลัง

ที่มา. thaiemb.com
1.ตัวอย่างชิ้นงานที่จะใช้ในการล้อมกรอบชิ้นงานอัตโนมัติ จะมีทั้งแบบชิ้นงานธรรมดา และ ชิ้นงานที่เจาะรูเอาไว้
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 745x587 พิกเซล. |

2.จากนั้นให้ทำการเลือกชิ้นงานที่เราต้องการให้โปรแกรมล้อมกรอบอัตโนมัติ ให้แอ็คทีฟ เครื่องมือ Insert Offset Object ก็จะพร้อมใช้งานในทันที
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 905x776 พิกเซล. |

4.เมื่อเราคลิกที่ไอคอน Insert Offset Object แล้วโปรแกรมก็จะขึ้นหน้าต่าง Offset Object ซึ่งมีการตั้งค่ามากมายที่เพิ่มขึ้นจากเวอร์ชั่นก่อน ๆ มากมาย

5.สำหรับการตั้งค่าในส่วนแรกคือ Fixed Offset จะเป็นการตั้งค่าการล้อมกรอบแบบตายตัว ถ้าเป็น 0 จะติดกับขอบเดิมของชิ้นงาน ถ้าค่ามากกว่า 0 ก็จะร่นออกไปนอกชิ้นงานตามระยะที่ตั้งไว้ แต่ถ้าค่าน้อยกว่า 0 หรือ ติดลบก็จะร่นเข้ามาในขอบของชิ้นงาน
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 950x555 พิกเซล. |

6.ถัดไปจะเป็นการตั้งค่า Offset Cout จะเป็นการตั้งค่าจำนวนรอบของเส้นกรอบ โดยเส้นกรอบถัดไปจะมีระยะเท่ากันทุกกรอบตามการตั้งค่า Fixed Offset ในข้อ 5.
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 959x545 พิกเซล. |

7.ในส่วนต่อไปจะเป็นการเลือกรูปแบบมุมของกรอบ หรือ Corner จะมี 2 แบบคือ ด้านบนเป็น rounded หรือมุมโค้ง ส่วนด้านล่างคือ squared หรือ มุมเหลี่ยม
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 925x573 พิกเซล. |

8.ถ้าเป็นการเลือกแบบ squared จะมีการตั้งค่าเพิ่มเติมในการตัดมุมที่แหลมเกินไป แต่เนื่องจากผู้เขียนลองสารพัด ก็ไม่เห็นมันตัดมุมกรอบที่มันแหลมเสียที จึงขอผ่านตัวนี้ไปนะครับ
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 948x562 พิกเซล. |

9.ต่อไปเป็นการเลือการล้อมกรอบแบบกำหนดความห่างเองคือ Use Offset List เมื่อเลือกใช้งานตัวนี้แล้วให้กดที่ปุ่ม Offset List ที่ด้านหลัง ก็จะเป็นการตั้งค่าระยะเส้นกรอบแต่ละเส้นว่าให้ห่างจากกรอบของชิ้นงานแต่ละตัวห่างกันเท่าไหร่ตามการกำหนดของเราได้ สามารถกำหนดระยะความห่างได้ 8 กรอบตามต้องการ
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 961x709 พิกเซล. |

10.ในส่วนต่อไปจะเป็นการเลือกรูปแบบเส้นกรอบ คือ Object Type ซึ่งมีรูปแบบให้เลือก 9 อย่างคือ Run, Triple Run, Motif Run, Input C ,Complex Fill, Fusion Fill Backstitch, Stemstitch, และ vector
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 1005x632 พิกเซล. |

11.ในส่วนของการตั้งค่าต่อไปคือ approximation หรือ ความแม่นยำ ในส่วนของลายที่มีรูปร่างซับซ้อน อาจจะทำให้การล้อมกรอบไม่สวยงามเกิดขึ้นได้ สำหรับค่านี้ค่ายิ่งน้อยก็จะทำให้ความสมบูรณ์ในการล้อมกรอบดีขึ้นเท่านั้น
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 1041x533 พิกเซล. |

12.ในส่วนต่อไปคือการเลือกเส้นกรอบแบบเกลียวสาหร่าย หรือ Spiral ในกรณีที่มีกรอบหลาย ๆ ชั้น เมื่อกาเครื่องหมายที่ Use Spiral จะทำให้การเดินเส้นกรอบกลายเป็นแบบเกลียวขึ้นมาทันที
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 1090x712 พิกเซล. |

13.และท้ายสุด จะเป็นการลบชิ้นงานดั้งเดิมทิ้งเมื่อสร้างกรอบ เมื่อเรากาเครื่องหมายถูกที่ช่อง replace original ก็จะทำให้ชิ้นงานเดิมถูกลบทิ้งในทันที
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 1066x709 พิกเซล. |

14.สำหรับชิ้นงานที่ถูกเจาะรู ระบบก็จะเดินกรอบให้ทั้งด้านนอกและด้านในชิ้นงานให้อัตโนมัติ

15.และสำหรับตัวอักษร ก็จะเป็นการเดินกรอบให้เหมือนกัน ข้อสังเกตุคือ ตัวอักษรระบบจะเดินกรอบให้ทุกส่วนแม้แต่รอยต่อ ถ้าต้องการความสวยงามจะต้องใช้เครื่องมือขาประจำอย่าง Reshape Object มาช่วยลบหรือขยับส่วนที่เกินออกให้สวยงามภายหลัง
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 983x408 พิกเซล. |

ที่มา. thaiemb.com
วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2559
วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2559
วันอาทิตย์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2559
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2559
บทที่1 ยินดีต้อนรับสู่การใช้งานโปรแกรม Wilcom 2006
โปรแกรม Wilcom 2006 เป็นเวอร์ชั่นแรกที่ทำรูปแบบแตกต่างไปจากโปรแกรมเวอร์ชั่นก่อน ๆ แต่คำสั่งและเครื่องมือต่าง ๆ นั้น ถ้าคนที่คุ้นเคยกับโปรแกรมเวอร์ชั่นเก่าอย่าง 7.1, 8.0 หรือ 9.0 จะสามารถทำความเข้าใจได้ไม่ยากเย็นนัก เพราะคำสั่งต่าง ๆ แทบจะคล้ายกันแทบทั้งหมด ในบทแรก จะเป็นการแนะนำหน้าตา และ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรมกัน
1.สำหรับโปรแกรมเมื่อติดตั้งแล้วจะมีส่วนที่ใช้งานสองส่วนคือ ตัวโปรแกรมคือ Wilcom 2006 และ ส่วนสำหรับจัดการกับลายปักคือ Design Workflow(จะร่ายยาวในอีกส่วนหนึ่งครับเนื่องจากมีเนื้อหาที่มาก) สำหรับการใช้งานให้ทำการดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน Wilcom 2006 ก็จะเป็นการเรียกโปรแกรมมาใช้งาน

2.นี่คือหน้าตาของโปรแกรม Wilcom 2006 จะเห็นว่ามีส่วนที่คล้ายคลึงกับเวอร์ชั่น 9.0 และ ก่อนหน้านั้นพอสมควร

3.สำหรับส่วนประกอบต่าง ๆ ของงโปรแกรมจะมีรายละเอียดดังนี้
3.1 Menu Bar ที่ด้านบนสุด(สีเหลือง) จะเป็นส่วนของคำสั่งของเมนูต่าง ๆ ของโปรแกรม
3.2 Toolbar (สีฟ้า) จะเป็นส่วนของการใช้เครื่องมือต่าง ๆ ของโปรแกรม ที่อยู่ในรูปของไอคอน โดยเครื่องมือต่าง ๆ เหล่านี้จะอยู่ในกรอบเป็นหมวดหมู่ เราสามารถดึงกรอบต่าง ๆ มาจัดเรียบตำแหน่งได้ตามใจชอบ
3.3 Toolbar Docking (สีส้ม) ส่วนนี้จะเป็นที่เก็บเครื่องมือต่าง ๆ ในข้อ 3.2 มาพักเอาไว้ เพื่อสะดวกในการดึงไปใช้งาน เครื่องมือไหนไม่ค่อยได้ใช้ก็สามารถดึงมาเก็บไว้ตรงนี้ได้ ถ้าจัดเรียงดี ๆ เราจะสามารถเก็บเครื่องมือเอาไว้ ซึ่งจะทำให้เราเหลือพื้นที่ใช้งานที่มากมายขึ้นอีก
3.4 Input Toolbar (สีเขียว) ส่วนนี้จะเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการทำรูปทรงลายปักต่าง ๆ
3.5 Modeless Dialog (สีม่วง) ส่วนนี้จะเป็นการตั้งค่าต่าง ๆ ของเครื่องมือทำลายปักในข้อ 3.4 ในส่วนนี้สามารถปิดการแสดงได้โดยการกดที่ไอคอน
ก็จะทำให้ปิดเปิดในส่วนนี้ได้
3.6 Status Bar (สีน้ำเงิน) ส่วนนี้จะเป็นการแสดง จำนวนฝีเข็มและตำแหน่งต่าง ๆ ของลายปัก
3.7 Message Prompt Line (สีแดง) ส่วนนี้จะเป็นการบอกเหตุการณ์ต่าง ๆ ขณะที่เรากำลังทำลายปัก ซึ่งถือว่ามีประโยชน์มาก สำหรับท่านที่ไม่ทราบขึ้นตอนของการใช้เครื่องมือต่าง ๆ ในการทำลายปัก
3.8 Color Toolbar (สีชมพู) ส่วนนี้จะเป็นแถบสีสำหรับกำหนดสีของลายปัก โดยแถบสีในแต่ละแถบ เราเรียกว่า Color way
3.9 General Object Toolbar (สีเหลือง) ส่วนนี้จะเป็นการกำหนดการปรับแต่งตำแหน่งและขนาดของลายปักที่แอ็คทีฟอยู่ ให้มีตำแหน่งหรือขนาดตามต้องการ

แนะนำหน้าตาของโปรแกรมกันก่อนครับ บทหน้าจะพูดถึงเรื่องการเปิดลายปักและการบันทึกลายปัก
ที่มา. thaiemb.com
1.สำหรับโปรแกรมเมื่อติดตั้งแล้วจะมีส่วนที่ใช้งานสองส่วนคือ ตัวโปรแกรมคือ Wilcom 2006 และ ส่วนสำหรับจัดการกับลายปักคือ Design Workflow(จะร่ายยาวในอีกส่วนหนึ่งครับเนื่องจากมีเนื้อหาที่มาก) สำหรับการใช้งานให้ทำการดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน Wilcom 2006 ก็จะเป็นการเรียกโปรแกรมมาใช้งาน

2.นี่คือหน้าตาของโปรแกรม Wilcom 2006 จะเห็นว่ามีส่วนที่คล้ายคลึงกับเวอร์ชั่น 9.0 และ ก่อนหน้านั้นพอสมควร

3.สำหรับส่วนประกอบต่าง ๆ ของงโปรแกรมจะมีรายละเอียดดังนี้
3.1 Menu Bar ที่ด้านบนสุด(สีเหลือง) จะเป็นส่วนของคำสั่งของเมนูต่าง ๆ ของโปรแกรม
3.2 Toolbar (สีฟ้า) จะเป็นส่วนของการใช้เครื่องมือต่าง ๆ ของโปรแกรม ที่อยู่ในรูปของไอคอน โดยเครื่องมือต่าง ๆ เหล่านี้จะอยู่ในกรอบเป็นหมวดหมู่ เราสามารถดึงกรอบต่าง ๆ มาจัดเรียบตำแหน่งได้ตามใจชอบ
3.3 Toolbar Docking (สีส้ม) ส่วนนี้จะเป็นที่เก็บเครื่องมือต่าง ๆ ในข้อ 3.2 มาพักเอาไว้ เพื่อสะดวกในการดึงไปใช้งาน เครื่องมือไหนไม่ค่อยได้ใช้ก็สามารถดึงมาเก็บไว้ตรงนี้ได้ ถ้าจัดเรียงดี ๆ เราจะสามารถเก็บเครื่องมือเอาไว้ ซึ่งจะทำให้เราเหลือพื้นที่ใช้งานที่มากมายขึ้นอีก
3.4 Input Toolbar (สีเขียว) ส่วนนี้จะเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการทำรูปทรงลายปักต่าง ๆ
3.5 Modeless Dialog (สีม่วง) ส่วนนี้จะเป็นการตั้งค่าต่าง ๆ ของเครื่องมือทำลายปักในข้อ 3.4 ในส่วนนี้สามารถปิดการแสดงได้โดยการกดที่ไอคอน

3.6 Status Bar (สีน้ำเงิน) ส่วนนี้จะเป็นการแสดง จำนวนฝีเข็มและตำแหน่งต่าง ๆ ของลายปัก
3.7 Message Prompt Line (สีแดง) ส่วนนี้จะเป็นการบอกเหตุการณ์ต่าง ๆ ขณะที่เรากำลังทำลายปัก ซึ่งถือว่ามีประโยชน์มาก สำหรับท่านที่ไม่ทราบขึ้นตอนของการใช้เครื่องมือต่าง ๆ ในการทำลายปัก
3.8 Color Toolbar (สีชมพู) ส่วนนี้จะเป็นแถบสีสำหรับกำหนดสีของลายปัก โดยแถบสีในแต่ละแถบ เราเรียกว่า Color way
3.9 General Object Toolbar (สีเหลือง) ส่วนนี้จะเป็นการกำหนดการปรับแต่งตำแหน่งและขนาดของลายปักที่แอ็คทีฟอยู่ ให้มีตำแหน่งหรือขนาดตามต้องการ
![]() | ภาพนี้ได้ถูกปรับขนาด คลิกที่แถบนี้เพื่อดูภาพเต็ม ภาพต้นฉบับมีขนาด 1280x984 พิกเซล. |

แนะนำหน้าตาของโปรแกรมกันก่อนครับ บทหน้าจะพูดถึงเรื่องการเปิดลายปักและการบันทึกลายปัก
ที่มา. thaiemb.com
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)